สัมมาทิฏฐิ 10 ประการ หลักธรรมว่าด้วยความเห็นชอบ 10 ประการ
สัมมาทิฏฐิ 10 ประการ สัมมาทิฏฐิ หมายถึง มีความเห็นชอบ เห็นถูกต้องตามทำนองคลองธรรม
อานิสงส์ถวายผ้าไตร ๑ แสนผืน
เราได้เสวยสมบัติในเทวโลกถึง ๓๐๐ ครั้ง ได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ๕๐๐ ครั้ง และเป็นพระราชาประเทศราชอันไพบูลย์ โดยเวลาสุดจะคณานับ เพราะการถวายทานด้วยศรัทธานั้น เราจึงเป็นผู้ถึงความสุขในทุกภพ เราท่องเที่ยวไปในสองภพเท่านั้น คือในเทวดาและมนุษย์ คติอื่นเราไม่รู้จัก นี้เป็นผลแห่งกรรมที่สั่งสมไว้ดี
วิธุรบัณฑิต บำเพ็ญสัจบารมี (๑)
ช่วงชีวิตของคนเรานั้นสั้นนัก การยอมเสียเวลาเพื่อลงทุนทำอะไรสักอย่างหนึ่ง จะต้องใคร่ครวญให้ดี เพื่อให้คุ้มค่ากับเวลาและเงินตราที่เสียไป
ลักษณะมหาบุรุษ (๒)
สัตว์ทั้งหลายมีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย กรรมย่อมจำแนกสัตว์ให้เลวและประณีตได้
การเก็บรักษาสิ่งที่ควรบูชา
ถูปารหบุคคล ๔ เหล่าที่ควรบูชานี้ คือ พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ๑ พระปัจเจกพุทธเจ้า ๑ สาวกของพระตถาคต ๑ พระเจ้าจักรพรรดิ ๑
ลักษณะของชุดขาวที่สวมใส่เพื่อเข้าสักการะพระมงคลเทพมุนี
พระเดชพระคุณพระราชภาวนาวิสุทธิ์ (หลวงพ่อธัมมชโย)ท่านมีความปรารถนาเป็นอย่างยิ่ง ที่จะพลิกฟื้นวัฒนธรรมการสวมชุดขาวมาวัดให้คงอยู่คู่กับพระพุทธศาสนาตลอดไปดังนั้น ตลอดเวลาในการบุกเบิกสร้างวัดพระธรรมกาย พระเดชพระคุณหลวงพ่อ จึงได้รณรงค์ให้สาธุชนสวมชุดขาวมาวัดอย่างต่อเนื่อง
วิธุรบัณฑิตบําเพ็ญสัจจบารมี (1)
นรชนผู้กำหนัดในกาม ยินดีในกาม หมกมุ่นอยู่ในกาม กระทำบาปกรรมแล้ว ย่อมเข้าถึงทุคติ ส่วนนรชนเหล่าใด ละกามทั้งหลายได้แล้ว เป็นผู้ไม่มีภัยแต่ที่ไหนๆ บรรลุความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่งเดียว นรชนเหล่านั้นย่อมไม่ไปสู่ทุคติ
ลักษณะมหาบุรุษ (2)
มงคลที่ ๓ บูชาบุคคลที่ควรบูชา - อานิสงส์ของการสรรเสริญพุทธคุณ
ทันทีที่สิ้นสุดคำพยากรณ์ มหาปีติอันไม่มีประมาณได้บังเกิดขึ้นมาอย่างท่วมท้น พระฤๅษีเกิดอัศจรรย์ใจยิ่งนักว่า ผลแห่งการบูชาเนื้อนาบุญอันยอดเยี่ยมนี้ น่าอัศจรรย์เหลือเกิน มหาสมบัติจะบังเกิดขึ้นในอนาคต เพราะการสรรเสริญพระคุณของพระตถาคตเจ้า ท่านก้มลงกราบแทบพระบาทของพระพุทธเจ้า ด้วยความเคารพอย่างสูงสุด
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฏฐิ ( ๑ )
สัมมาทิฏฐิเบื้องต้นทั้ง ๑๐ ประการนี้ เปรียบเสมือนลู่ที่ให้เราวิ่งไปตามทาง เหมือนแสงทองส่องนำชีวิตให้ก้าวไปสู่ความสุขความสำเร็จ จึงต้องตอกย้ำบ่อยๆ เพื่อเป็นการทบทวนด้วยว่า เรามีสัมมาทิฏฐิครบถ้วนบริบูรณ์แล้วหรือยัง