ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 115
มโหสถบัณฑิตจึงได้เรียกเหล่าทหารผู้เป็นสหายบริวารที่เป็นสหชาติทันที แล้วแจ้งแผนการที่จะทำลายพิธีดื่มชัยบานของพระเจ้าจุลนีว่า “สหาย ทั้งหลาย ที่เราต้องเรียกพวกท่านมาประชุมพร้อมกันในครั้งนี้ ก็เพราะมีภารกิจสำคัญ ที่จะต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจของทุก ๆ คนช่วยกันทำให้สำเร็จ”
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - พฤติกรรมที่ชักนําให้เสื่อม
เรื่องนี้มีข้อคิดหลายอย่าง ทั้งเรื่องกฎ แห่งกรรม ความสำคัญของใจในช่วงสุดท้ายตอนศึกชิงภพ และเรื่องความฉลาดในการสอบสวน จนสามารถรู้ถึงเหตุที่แท้จริงจากผลที่เกิดขึ้น เรื่องการเป็นคนช่างสังเกต รู้ว่าใครเป็นพาล เป็นบัณฑิต เป็นมิตรหรือศัตรู
死に場所
เธอเกิดมาในครอบครัวที่ทุกๆคนประสบความสำเร็จในชีวิต...คุณพ่อเป็นคนฉลาด เรียนเก่ง คุณแม่มีไอคิวสูง พี่สาวของเธอสอบได้ที่ 1 เป็นปกติ แต่เธอไม่ได้เป็นเช่นนั้น เธอเป็นเหมือนผู้แพ้ที่อยู่ท่ามกลางผู้ชนะ แม้แต่ชีวิตคู่ของเธอก็ไม่ประสบความสำเร็จเช่นกัน เธอทุกข์ใจมาก มีเพียงคุณยายของเธอเท่านั้นที่คอยเป็นกำลังใจให้ เมื่อคุณยายของเธอเสียชีวิต เธอก็ตั้งใจว่าจะทำให้บุญให้คุณยายจนครบ 1 ปี หลังจากนั้นเธอจะฆ่าตัวตาย...แต่บุญบันดาลให้เธอมาเจอกับหมู่คณะเสียก่อน...
ผู้ชนะสิบทิศ ตอนที่ ๑ ( จอมจักรพรรดิราช )
อานนท์ ปัญญานั้นคือความฉลาด ในการที่จะเอาบุญทุกๆ อย่าง เหมือนสมัยที่เราเกิดเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ในครั้งนั้น เราเป็นพระเจ้าจักรพรรดินามว่า ติโลกวิชัย
ผู้มีปัญญา
ปัญญา หมายถึง ความฉลาด ความรอบรู้ ความเข้าใจชัดในสิ่งต่างๆ ผู้มีปัญญาย่อมรู้จักผิดชอบชั่วดี รู้จักบาปบุญคุณโทษ รู้จักเหตุผล คือ รู้จักสืบสวนจากผลไปหาเหตุ และจากเหตุไปหาผล
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 65
หลังจากที่ได้สนทนากันมาพอสมควร มโหสถก็พอจะหยั่งรู้ว่า นางอมราเป็นหญิงที่มีความฉลาดหลักแหลมอยู่ไม่น้อย อีกทั้งไหวพริบปฏิภาณของนางก็ว่องไวต่างจากหญิงทั่วไป ครั้นมั่นใจในตัวนางเช่นนี้แล้ว มโหสถก็มิได้ถามอะไรอีก เอาแต่จ้องมองดูนางด้วยความพึงพอใจ ส่วนว่า มโหสถจะได้นางมาเป็นคู่ครองด้วยวิธีการใดนั้น โปรดติดตาม
ธัมมัทธชชาดก ชาดกว่าด้วยพูดอย่างหนึ่งทำอย่างหนึ่ง
มีภิกษุอยู่รูปหนึ่งเป็นผู้ที่ชอบพูดจาโป้ปดอยู่เสมอ คำพูดอย่างหนึ่งแต่การกระทำอีกอย่างหนึ่งจนเป็นที่ระอาใจในหมู่ภิกษุสงฆ์ด้วยกัน ภิกษุทั้งหลายได้พาภิกษุที่ชอบโกหกไปเข้าเฝ้าองค์พระศาสดาเพื่อให้พระองค์ได้ชี้แนะตักเตือน
เกฬิสีลชาดก ชาดกว่าด้วยปัญญาสำคัญกว่าร่างกาย
พระเจ้าพรหมทัตทรงครองราชสมบัติอยู่ ณ กรุงพาราณสี พระองค์ทรงชอบการกลั่นแกล้งทรมานคนแก่ชราและสัตว์ที่แก่ไร้เรี่ยวแรง นำมากลั่นแกล้งในรูปแบบต่าง ๆ จนท้าวสักกะทนไม่ไหวจำต้องเสด็จลงมาใช้อุบายทำการสั่งสอนให้พระองค์ได้ทรงสำนึกในการกระทำที่ไม่สมควร
ปานียชาดก ชาดกว่าด้วยการทำบาปแล้วรังเกียจบาปที่ทำ
“ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ขึ้นชื่อว่ากิเลสเป็นของเล็กน้อยไม่มีเลย ธรรมดาว่าภิกษุต้องข่มกิเลสที่เกิดแล้วแล้วเสีย บัณฑิตครั้งก่อนเมื่อพระพุทธเจ้ายังไม่เสด็จอุบัติต่างก็ข่มกิเลสทั้งหลายเสียได้บรรลุปัจเจกพุทธญาณ ”
ชนสันธชาดก ชาดกว่าด้วยเหตุที่ทำจิตให้เดือดร้อน
ครั้งหนึ่งพระเจ้าโกศลทรงมัวเมาด้วยพระราชอิสริยยศหมกหมุนอยู่ในความสุขที่เกิดแต่กิเลสไม่ปรารถนาจะว่าราชการ ไม่ตัดสินคดีความแม้การบำรุงพระศาสดาและพระพุทธศาสนา พระบรมศาสดาจึงทรงให้โอวาทเตือนสติแก่พระเจ้าโกศลมิให้ทรงอยู่แต่ในความประมาท