ปกบ้านครองเมือง ประเทศอินโดนีเซีย
ปกบ้านครองเมือง เรื่องเล่าแต่ก่อน ในอดีตหมู่เกาะต่างๆ ประกอบด้วยหลากรัฐ แต้รัฐมีระบบการปกครองและมีประมุขของตนเอง ส่วนใหญ่มักค้าขายเครื่องเทศเป็นสินค้าสำคัญ ชาวอาหรับเป็นชาติแรกๆ ที่เดินทางมาค้าขายที่เกาะสุมาตรา และนำเอาศาสนาอิสลามมาเผยแผ่ ต่อมาในปี พ.ศ. 2164 ฮอลันดายึดครองอินโดนีเซีย โดยตั้งบริษัท United Dutch East India Company ขึ้นที่หมู่เกาะอินเดียตะวันออก นอกจากจุดประสงค์เพื่อทำการค้าแล้ว ยังทำหน้าที่แสวงหาอาณานิคมให้แก่ฮอลันดาด้วย จนกระทั่งในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง กองทัพญี่ปุ่นได้เข้ามายึดครองอินโดนีเซีย ล้มรัฐบาลอาณานิคมของฮอลันดา ไม่นานหลังจากญี่ปุ่นแพ้สงคราม ฮอลันดาพยายามกลับมาปกครองอินโดนีเซียเหมือนเดิม ชาวอินโดนีเซียภายใต้การนำของ ดร.ซูการ์โนและ ดร. โมฮัมหมัด ฮัตตา จึงรีบร่วมกันประกาศอิสรภาพเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2488 (รวมระยะเวลาตกอยู่ใต้อาณานิคมกว่า 300 ปี
อะไรเป็นสาเหตุที่ทำให้สังคมแตกแยก
อะไรเป็นสาเหตุที่ทำให้สังคมโลก เกิดความเดือดร้อนวุ่นวายจนบานปลาย ไปสู่ความแตกแยก บางครั้งก็รุนแรง ถึงขั้นเกิดสงครามโลก
วิถีใบลาน แห่งน่านนคร
“น่าน” จังหวัดเล็ก ๆ ทางภาคเหนือของไทย ทรงคุณค่าเนื่องด้วยเป็นแหล่งคัมภีร์ใบลานอักษรธรรมจำนวนมาก เมื่อย้อนประวัติศาสตร์ไปตั้งแต่ยุคสร้างเมืองในพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ทำให้พบว่า...
นักสร้างบารมีกับพันธกิจยอยกพระพุทธศาสนา
ยอดนักสร้างบามีผู้มีหัวใจโชนนิรันดร์ทุกท่าน เมื่อเทียบเวลาในมนุษยโลกกับดุสิตบุรีช่างเป็นช่วงเวลาที่สั้นเหลือเกิน เวลา ๑ ปีของเรานั้น เท่ากับ ๖ ชั่วโมงในดุสิตบุรี เราสละทิพยสมบัติมาไม่กี่ชั่วโมง เพื่อเอาบารมีกลับไปให้ได้มากที่สุด
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๑)
ในการนำเสนอสาระโดยย่อของประวัติศาสตร์ที่ยาวนานถึง ๒,๖๐๐ ปี อย่างต่อเนื่องหลายฉบับจนถึงยุคปัจจุบัน ผู้เขียนขออนุโมทนากับท่านผู้อ่านที่ให้ความสนใจติดตามมาโดยตลอด และฉบับนี้ผู้เขียนก็ขอเสนอบทความต่อจากฉบับที่แล้ว
เป็น อยู่ คือ วิถีชีวิตชาวมาเลเซีย
สังคมมาเลเซียมีลักษณ์เป็น พหุสังคม (Multiracial Society) ประกอบด้วยประชากรหลากหลายเชื้อชาติ ได้แก่ มาเลย์ จีน และอินเดียแต่ละเชื้อชาติมีความแตกต่างทางภาษา ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตความเป็นอยู่
วธ.สรุปวัดโบราณสถาน ประสบอุทกภัยเสียหาย 600 ล้านบาท
กระทรวงวัฒนธรรม สรุปความเสียหายจากสถานการณ์อุทกภัยในเขตโบราณสถาน และวัดทั่วประเทศ มีมูลค่ารวมกว่า 600 ล้านบาท
อานุภาพความสุขอยู่ที่ใจ ยืดอายุขัยออกไปได้นาน ถึง 10 ปี
ประวัติพระพุทธศาสนาในไต้หวัน
วัดฝอกวงซัน ปฐมเจ้าอาวาสวัดฝอกวงซัน คือ พระธรรมาจารย์ซิงหวิน ได้เคยเดินทางมาวัดพระธรรมกายและเซ็นสัญญาเป็นวัดพี่วัดน้องกับคุณครูไม่ใหญ่ ในวันมาฆบูชาปีพ.ศ.2537 ปัจจุบันเป็นวัดที่มีความสามารถในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ได้ผลดีที่สุดในไต้หวัน มีนักบวช 1,200รูป