ปกบ้านครองเมือง ประเทศอินโดนีเซีย
ปกบ้านครองเมือง เรื่องเล่าแต่ก่อน ในอดีตหมู่เกาะต่างๆ ประกอบด้วยหลากรัฐ แต้รัฐมีระบบการปกครองและมีประมุขของตนเอง ส่วนใหญ่มักค้าขายเครื่องเทศเป็นสินค้าสำคัญ ชาวอาหรับเป็นชาติแรกๆ ที่เดินทางมาค้าขายที่เกาะสุมาตรา และนำเอาศาสนาอิสลามมาเผยแผ่ ต่อมาในปี พ.ศ. 2164 ฮอลันดายึดครองอินโดนีเซีย โดยตั้งบริษัท United Dutch East India Company ขึ้นที่หมู่เกาะอินเดียตะวันออก นอกจากจุดประสงค์เพื่อทำการค้าแล้ว ยังทำหน้าที่แสวงหาอาณานิคมให้แก่ฮอลันดาด้วย จนกระทั่งในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง กองทัพญี่ปุ่นได้เข้ามายึดครองอินโดนีเซีย ล้มรัฐบาลอาณานิคมของฮอลันดา ไม่นานหลังจากญี่ปุ่นแพ้สงคราม ฮอลันดาพยายามกลับมาปกครองอินโดนีเซียเหมือนเดิม ชาวอินโดนีเซียภายใต้การนำของ ดร.ซูการ์โนและ ดร. โมฮัมหมัด ฮัตตา จึงรีบร่วมกันประกาศอิสรภาพเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2488 (รวมระยะเวลาตกอยู่ใต้อาณานิคมกว่า 300 ปี
ปกบ้านครองเมือง ประเทศเมียนมาร์
ปกบ้านครองเมือง ประวัติศาสตร์ พม่ามีประวัติศาสตร์ทางการเมืองโดดเด่นจนนานาประเทศจับตามองลักษณะการปกครองแบ่งได้เป็น 3 สมัย คือ สมัยราชวงศ์ สมัยอาณานิคม และสมัยเอกราช สมัยราชวงศ์ เป็นช่วงเวลาที่ดินแดนพม่ายังแบ่งการปกครองเป็นอาณาจักรแต่ละอาณาจักรปกครองด้วยระบอบกษัตริย์ มี 3 ราชวงศ์ ราชวงศ์พุกาม ราชวงศ์ตองอู และราชวงศ์คองบอง
ปกบ้านครองเมือง ของประเทศกัมพูชา
ปกบ้านครองเมือง กัมพูชาเคยตกเป็นอาณานิคมของประเทศฝรั่งเศส ก่อนได้รับเอกราชในปี พ.ศ. 2496 แต่หลังจากได้รับเอกราชมาแล้วก็เกิดความแตกแยกภายในประเทศระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนการปกครองระบอบคอมมิวนิสต์กับฝ่ายประชาธิปไตยอยู่นานนับสิบปีกว่าความขัดแย้งจะยุติลง
เจดีย์ชเวดากอง
เจดีย์ชเวดากอง ประวัติเจดีย์ชเวดากอง พระมหาธาตุเจดีย์ชเวดากอง ชาวพม่าถือว่า แม้ว่าประเทศของตนจะตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ แต่สิ่งที่ชาวพม่ายอมไม่ได้ คือ การถูกย่ำยีพระพุทธศาสนา เพราะนั่นหมายถึงการย่ำยีหัวใจของชาวพม่า เรียกได้ว่า เหตุการณ์ในครั้งนั้น เป็นเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ของการรักษาพระพุทธศาสนา ด้วยการเอาชีวิตเป็นเดิมพัน ในแผ่นดินพม่า
วันสื่อสารแห่งชาติ 2566 ประวัติความเป็นมาและความสำคัญของการสื่อสาร
การสื่อสารมีความสำคัญ จึงได้มีการกำหนดวันสื่อสารแห่งชาติ ขึ้นมา ในวันที่ 4 สิงหาคมของทุกปีเป็น "วันสื่อสารแห่งชาติ" การสื่อสารหมายถึงอะไรศึกษาได้จากบทความนี้ค่ะ...
พระไตรปิฎกมรดก ๙ แผ่นดินแห่งกรุงรัตนโกสินทร์
นับตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี ทรงสถาปนา “กรุงเทพมหานคร” เป็นเมืองหลวงของราชธานี จวบจนปัจจุบันนับเป็นเวลา ๒๐๐ กว่าปี ที่ปวงชนชาวไทยอยู่เย็นเป็นสุขภายใต้พระบรมโพธิสมภารของสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้าผู้ครองแผ่นดินทั้ง ๙ พระองค์...
นักสร้างบารมีกับพันธกิจยอยกพระพุทธศาสนา
ยอดนักสร้างบามีผู้มีหัวใจโชนนิรันดร์ทุกท่าน เมื่อเทียบเวลาในมนุษยโลกกับดุสิตบุรีช่างเป็นช่วงเวลาที่สั้นเหลือเกิน เวลา ๑ ปีของเรานั้น เท่ากับ ๖ ชั่วโมงในดุสิตบุรี เราสละทิพยสมบัติมาไม่กี่ชั่วโมง เพื่อเอาบารมีกลับไปให้ได้มากที่สุด
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๑)
ในการนำเสนอสาระโดยย่อของประวัติศาสตร์ที่ยาวนานถึง ๒,๖๐๐ ปี อย่างต่อเนื่องหลายฉบับจนถึงยุคปัจจุบัน ผู้เขียนขออนุโมทนากับท่านผู้อ่านที่ให้ความสนใจติดตามมาโดยตลอด และฉบับนี้ผู้เขียนก็ขอเสนอบทความต่อจากฉบับที่แล้ว
พระไตรปิฎกพิมพ์อักษรไทย อธิปไตยของแผ่นดิน
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระไตรปิฎกพิมพ์อักษรไทย อธิปไตยของแผ่นดิน
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว...ก้าวสู่รัตนโกสินทร์ตอนกลาง
แผ่นดินสมัยรัตนโกสินทร์ตอนกลางเริ่มในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๔ แห่งราชวงศ์จักรี เป็นยุคที่สยามเปิดประเทศสู่อารยธรรมตะวันตกและเจริญสัมพันธไมตรีกับนานาชาติ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในสังคมไทยทั้งทางตรงและทางอ้อม