เจ้าอาวาสสุทัศนเทพวราราม รับถวายมุทิตาสักการะจากเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย เนื่องในโอกาสเจริญอายุวัฒนมงคล 84 ปี
พระเดชพระคุณพระพรหมวชิรมุนี เจ้าอาวาสสุทัศนเทพวราราม รับถวายมุทิตาสักการะจากพระครูปลัดรัตนวีรวัฒน์ เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย และคณะศิษยานุศิษย์ เนื่องในโอกาสเจริญอายุวัฒนมงคล 84 ปี
กราบมุทิตา 76 ปี พระราชภาวนาจารย์ (หลวงพ่อทัตตชีโว)
กราบมุทิตา 76 ปี พระราชภาวนาจารย์ (หลวงพ่อทัตตชีโว) วันพุธที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ณ ห้องแก้วสารพัดนึก เวลา 12.30 น.
ย้อนรอยกาลตามรอยธรรมแห่งพระพุทธโฆษาจารย์
รอยจารึกอักษรโบราณอายุหลายร้อยปีที่ปรากฏบนแผ่นลานนั้น มีความหมายและทรงคุณค่าต่อการศึกษาเชิงประวัติศาสตร์แห่งการสืบทอดคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผ่านการจดจำและจดจารจากจุดเริ่มต้น ณ ดินแดนชมพูทวีปในสมัยพุทธกาล
อักษรธรรมล้านนา อักษราจารพุทธธรรม
ย้อนไปนานนับพันปี บริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยในปัจจุบันเป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านนา มีพื้นที่ครอบคลุมหลายจังหวัด อาทิ เชียงราย เชียงใหม่ ลำปาง แม่ฮ่องสอน แพร่ น่าน ตลอดจนเขตสิบสองปันนาของจีนและบางส่วนของพม่าและลาว ผู้คนในถิ่นนี้มีภาษาพูดและภาษาเขียนเป็นของตนเอง อักษรที่นิยมใช้เขียนวรรณคดีทางโลก คือ อักษรฝักขาม ส่วนอักษรที่นิยมใช้บันทึกหลักธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนา คือ อักษรธรรม จึงเรียกอักษรธรรมที่ใช้ในอาณาจักรล้านนาว่า “อักษรธรรมล้านนา”
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๐)
การไปร่วมสัมมนาครั้งนี้ สืบเนื่องมาจากการที่สถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัยได้ร่วมลงนามทำสัญญาความร่วมมือ (MOU) กับทางวิทยาลัยสงฆ์นครน่านฯ เฉลิมพระเกียรติฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ และจากการลงนาม MOU นี้ ทำให้เรามีกิจกรรมร่วมกันหลาย โครงการแต่เน่อื งจากผู้เขียนยังนำเสนอบทความเส้นทางเผยแผ่พระพุทธศาสนาไม่สิ้นสุด จึงจะขอนำเสนอผลงานที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือของทั้ง ๒ ฝ่ายในอนาคต ในโอกาสนี้ขอเสนอบทความต่อจากฉบับที่แล้ว ดังนี้
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๕)
หลังจากการล่มสลายของราชวงศ์สตวาหนะแล้ว ราชวงศ์อานธรอิกศวากุ ได้ปกครองดินแดนแถบนี้ระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ ๘ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๙ โดยตั้งเมืองหลวงที่เมืองวิชัยปุระหรือนาคารชุนโกณฑะ สมาชิกฝ่ายสตรีในราชวงศ์นี้เป็นพุทธมามกะได้สร้างวิหารเทวีและวิหารสิงหล ให้เป็นอาสนสถานของพระสงฆ์จากลังกา และสร้างชัยตยฆระ ถวายแด่ฝ่ายพระเถรีจากลังกาความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาของลังกาและอินเดียแถบอานธรประเทศในยุคนี้มีความใกล้ชิดกันเป็นอย่างมาก
พระราชภาวนาจารย์ (เผด็จ ทตฺตชีโว)
ประวัติพระราชภาวนาจารย์ (เผด็จ ทตฺตชีโว) ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง รองเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย อุปสมบทเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2514 ณ พัทธสีมา วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ
พระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร)
ชาติภูมิ พระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร) มีนามเดิมว่า ทอง นาคประเสริฐ เป็นชาวจังหวัดฉะเชิงเทราโดยกำเนิด เกิด ณ ตำบลบางพระ อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา เมื่อวันศุกร์ขึ้น 12 ค่ำ เดือนยี่ ปีมะแม ตรงกับวันที่ 2 มกราคม พ.ศ.2462
ทดแทนคุณ เอาบุญกับคุณยาย
คุณยายอาจารย์ฯ ศึกษา “วิชชาธรรมกาย” อยู่ที่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ กับพระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) เป็นเวลายาวนานถึง 20 กว่าปี มีผลการปฏิบัติธรรมอยู่ในแนวหน้า ชนิดที่พระเดชพระคุณหลวงปู่กล่าวชมว่า “เป็นหนึ่ง ไม่มีสอง”
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก โครงการพระไตรปิฎก วัดพระธรรมกาย มุ่งมั่นสำรวจ รวบรวมคัมภีร์ใบลานจากทั้ง 4 สายจารีตหลัก คือ คัมภีร์ใบลานอักษรสิงหล อักษรพม่า อักษรขอม และอักษรธัมม์ (ล้านนา, อีสาน) และศึกษาค้นคว้าคัมภีร์ใบลานดังกล่าวตามหลักวิชาคัมภีร์โบราณ แล้วจัดทำพระไตรปิฎกฉบับวิชาการขึ้น
วัดโมลีโลกยาราม ราชวรวิหาร
ประวัติ วัดโมลีโลกยาราม ผู้สร้างและผู้ปฏิสังขรณ์ ประวัติ วัดโมลีโลกยารามราชวรวิหาร รวบรวมเรียบเรียงโดย พระเมธีวราภรณ์ (สุทัศน์ ป.ธ.๙)
เจ้าคณะใหญ่หนเหนือเปิดพิธีปฐมนิเทศบาลี
สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ ให้โอวาทพระภิกษุสามเณรที่เรียนเปรียญธรรมเอกโดยขอให้เข้าโรงเรียนตามกำหนดและให้ท่องจำออกเสียงดังๆ ซึ่งจะทำให้เกิดการทรงจำได้ดี
พระพรหมดิลก วัดสามพระยาเป็นเจ้าคณะ กทม.
มหาเถรสมาคมมีมติแต่งตั้ง 'พระพรหมดิลก' เจ้าอาวาสวัดสามพระยาเป็นเจ้าคณะ กทม. แทนพระธรรมสิทธินายกที่เกษียณอายุ พร้อมแต่งตั้ง 'พระราชสุตาลังการ' วัดนิมมานรดี ขึ้นเจ้าคณะภาค 14
คาถาต่างๆ มีกำเนิดมาอย่างไรใครเป็นผู้แต่ง
คาถาต่างๆ เช่นชัยมงคลคาถา คาถาชินบัญชร มีกำเนิดมาอย่างไร ใครเป็นผู้แต่งคาถาเหล่านี้
ครบรอบ 15 ปี วันมรณภาพสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์
คณะสงฆ์วัดสามพระยา จัดพิธีบำเพ็ญกุศล วันครบรอบ 15 ปี แห่งการมรณภาพสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ฟื้น ชุตินฺธรมหาเถร และอดีตเจ้าอาวาส บุรพาจารย์ บุรพการี วัดสามพระยา
พิธีสมโภชสุพรรณบัฏ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์
คณะกรรมการมหาเถรสมาคม พร้อมด้วยพระมหาเถระ พระเถรานุเถระ พระสังฆาธิการ
มส.ตั้งสมเด็จฝ่ายมหานิกายและธรรมยุต 2 รูป
สมเด็จพระพุฒาจารย์ ประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช เป็นประธานการประชุมมหาเถรสมาคม ณ ตำหนักสมเด็จ วัดสระเกศวรวิหาร