ทศชาติชาดก เรื่อง พระเตมีย์ ผู้ยิ่งด้วยเนกขัมมบารมี ตอนที่ 18
สุนันทสารถีเมื่อได้ฟังเหตุผลอย่างชัดเจนก็เข้าใจ เกิดความเลื่อมใสว่า แม้พระราชกุมารผู้เป็นรัชทายาทยังมีพระประสงค์จะทรงผนวช แล้วตัวเราจะอยู่ครองเรือนไปทำไม จึงกราบทูลว่า
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 194
วันหนึ่งพระองค์ลงเรือไปในมหาสมุทรพร้อมด้วยผู้ติดตามอีกหกคน คือ พระชนนี พระนางนันทา พระอนุชาติขิณมนตรี พระสหายธนูเสกข์ ปุโรหิตเกวัฏ และมโหสถบัณฑิต ปรากฏว่าเรือของมหาบพิตรแล่นเข้าไปในเขตของผีเสื้อน้ำตนนั้น มันจึงระเบิดน้ำในมหาสมุทรออกมา แล้วฉุดเรือของมหาบพิตรไว้...ครั้นแล้วจึงข่มขู่มหาบพิตรว่า ท่านจะต้องส่งคนทั้งหกให้เรากินเสีย ตามลำดับ เราจึงจะปล่อยท่านไป
ทศชาติชาดก เรื่อง พระเตมีย์ ผู้ยิ่งด้วยเนกขัมมบารมี ตอนที่ 17
ข้าแต่พระราชกุมาร พระวาจาของพระองค์ช่างไพเราะเสียจริง พระองค์มีพระดำรัสตรัสสละสลวยถึงเพียงนี้ แต่เหตุไฉน ก่อนนี้พระองค์ถึงไม่ทรงตรัสสิ่งใดกับพระชนกและพระชนนีเลย ขอพระองค์จงเสด็จกลับพระนครเถิด การอยู่ในป่าคนเดียวจะมีประโยชน์อะไร
เวสสันดรชาดก ตอนที่ ๓ ( กำเนิดพระเวสสันดร )
ครั้นพระโพธิสัตว์ออกมาจากครรภ์ของพระมารดา เพียงลืมพระเนตรทั้งสองได้เท่านั้น ก็เหยียดพระหัตถ์ออกมาพลางกล่าวกับพระมารดาว่า “ข้าแต่พระแม่เจ้า หม่อมฉันจะบริจาคทาน มีทรัพย์อะไรพอที่จะให้ลูกบริจาคได้บ้าง” พระชนนีตรัสตอบว่า “ลูกรัก ลูกจงบริจาคทานตามอัธยาศัยเถิด” จากนั้น
โกสัมพิยชาดก ชาดกว่าด้วยอยู่คนเดียวดีกว่าร่วมกับคนพาล
“ ต่อไปพวกเราอย่าได้ไปกราบไหว้ภิกษุพวกนี้อีกนะ ” “ พวกเราจะไม่ถวายบิณฑบาตด้วย ทำแบบนี้ ภิกษุเหล่านี้จะได้สำนึกเสียบ้าง” เมื่อภิกษุเหล่านั้นถูกพวกอุบาสกลงทัณฑกรรมเช่นนั้นจึงสำนึกได้ พากันไปยังเมืองสาวัตถีกราบทูลขอขมาโทษต่อพระผู้มีพระภาคเจ้า
วัดพระธรรมกาย จัดพิธีเจริญพระพุทธมนต์ถวายสมเด็จพระสังฆราช
วัดพระธรรมกาย จังหวัดปทุมธานี จัดพิธีเจริญพระพุทธมนต์ถวายเป็นพระกุศล และถวายพระพรแด่สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
กฐินทาน กาลทานที่มีผลานิสงส์มาก
คำสอนในพระพุทธศาสนากล่าวว่า “ทาน” หรือ “การให้” เป็นความดีที่เป็นสัมมาทิฐิเบื้องต้นของมนุษย์ทุกคน เพราะทั้งการให้ การแบ่งปัน หรือการสงเคราะห์ ล้วนเป็นคุณธรรมที่เกื้อกูลกันระหว่างชีวิตต่อชีวิต เป็นพื้นฐานความดีที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความเจริญก้าวหน้าต่อไป ดังเช่น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในครั้งยังสร้างบารมี กว่าพระองค์จะทรงประสบความสำเร็จขั้นสูงสุดในชีวิต คือการตรัสรู้ธรรม พระองค์ก็ทรงอาศัยการทำทานเป็นจุดเริ่มต้นของการสั่งสมความดี
วิสาขามหาอุบาสิกา (สุเมธายอดนารี)
ดิฉันเข้าอยู่ประจำอุโบสถ อันประกอบด้วยองค์ ๘ ประการ ตลอดดิถีที่ ๑๔, ๑๕ และดิถีที่ ๘ แห่งปักษ์ และตลอดปาฏิหาริยปักษ์ ดิฉันสำรวมแล้วในศีลทุกเมื่อ ข้าแต่พระฤๅษี ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้ ขอบุตรจงเกิดเถิด เมื่อดิฉันกล่าวคำเท็จ ขอศีรษะของดิฉัน จงแตกเป็น ๗ เสี่ยง
ปชาบดีเถรี ผู้รัตตัญญู (๒)
ความชั่วทางกาย วาจา และใจของบุคคลใดไม่มี เราเรียกบุคคลนั้น ผู้สำรวมแล้วโดยฐานะ ๓ ว่า เป็นพราหมณ์
ปชาบดีเถรี ผู้รัตตัญญู (๑)
ในที่ใด ไม่มีความแก่หรือความตาย ไม่มีการสมาคมด้วยสัตว์และสังขารอันไม่เป็นที่รัก ไม่มีการพลัดพรากจากสัตว์และสังขารอันเป็นที่รัก ที่นั้นนักปราชญ์กล่าวว่าเป็นอสังขตสถาน