ขรัสสรชาดก ชาดกว่าด้วยบุตรที่มารดาละทิ้ง
วันหนึ่ง มีบัณฑิตผู้หนึ่งได้เดินทางไปพักที่ในหมู่บ้านนั้น เขาได้เห็นอำมาตย์ผู้นี้ เวลาจะเดินทางไปไหน ต้องมีคนตีฆ้องกลองนำหน้า มีบริวารห้อมล้อมเป็นที่เอิกเกริกใหญ่โต “ เวลาใดที่พวกโจรมาปล้นบ้าน เผาบ้านเรือน ฆ่าโคกิน แล้วจับเอาคนไปเป็นเชลยนั้น เมื่อนั้นบุตรธิดาละทิ้งแล้ว จึงมาตีกลองเสียงอึกทึก โดยแท้จริงอำมาตย์ผู้นี้เองเป็นคนทุจริต เป็นผู้สมคบกับโจร ”
พันธนโมกขชาดก ชาดกว่าด้วยการหลุดพ้นจากเครื่องผูกมัด
อดีตกาลอันไกลออกไป ยังมีอัครเหสีผู้สมบูรณ์พร้อมในอิตถีลักษณ์ ชวนหลงไหล บำรุงบำเรอสุขแก่พระเจ้ากาสี อยู่ในพาราณสีนครหลวง “ หญิงสวยอย่างเรา แม้แต่พระเจ้ากาสีก็ยังหลงไหล ฮึ แล้วมีรึ ชายหนุ่มอื่นใดจะไม่ต้องการ
อุุทัญจนีชาดก ชาดกว่าด้วยหญิงโจร
พระโพธิสัตว์รู้ดีว่าไม่อาจเหนี่ยวรั้งผู้เป็นลูกที่กำลังลุ่มหลงในตัวหญิงผู้นั้นได้ จึงอนุญาตและให้โอวาทไว้ “ เอาเถิดลูกพ่อ หากเจ้าต้องการไปอยู่กับนาง เจ้าก็ไปเถิด ” “ ถ้างั้นข้าลาล่ะนะท่านพ่อ ” “ ช้าก่อนลูกเอ๋ย เมื่อเจ้าไปอยู่กับนางแล้ว หากวันใดนางใช้ให้เจ้าทำงานหาเลี้ยงดูนาง เมื่อนั้นเจ้าจงกลับมาหาพ่อ ” ดาบสหนุ่มมาอยู่กับนางผู้ล่อลวงนั้นได้ไม่นาน นางก็ให้เขาตกอยู่ในอำนาจตน
ฆตบัณฑิตชาดก ชาดกว่าด้วยความดับความโศก
ณ บ้านหลังหนึ่งในเชตวัน สาวัตถี กุฎุมพีเจ้าของบ้านได้เกิดความเศร้าโศกเสียใจ เป็นอันมากเนื่องจากบุตรชายอันเป็นที่รักของเขาได้ตายจากไป ความเศร้าเสียใจของชายผู้นี้กินเวลาเนิ่นนาน วันเดือนปีจะผ่านพ้นไปเพียงใด เขาก็ยังไม่สามารถทำใจได้
โรมชาดก ชาดกว่าด้วยว่าด้วยอาชีวกเจ้าเล่ห์
ในพุทธกาลสมัยนั้น มีเรื่องราวหลากหลายเกิดขึ้น และมีผลกรรมเกี่ยวต่อผู้ที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาต่างกรรมต่างวาระกัน การแตกแยกของหมู่สงฆ์อันเป็นเรื่องสำคัญยิ่งที่เกิดขึ้นในแคว้นมคธ ซึ่งนับเป็นกรรม เป็นวิบากกรรมของพระเทวทัตที่ตามจองเวรต่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
วรุณชาดก ชาดกว่าด้วยการทำไม่ถูกขั้นตอน
ย้อนไปในสมัยพุทธกาล ณ พระเชตวันมหาวิหารอันเป็นที่ประทับของพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ยังมีกุลบุตรชาวเมืองสาวัตถีซึ่งเป็นสหายกันประมาณ 30 คน ถือของหอม ดอกไม้และผ้า คิดกันว่าจะเข้าเฝ้าฟังพระธรรมเทศนาของพระศาสดา จึงได้พากันไปยังวิหารเชตวันและได้นั่งพักในโรงนา คมาฬกะ วิสาลมาฬกะ เพื่อรอเข้าเฝ้าพระพุทธองค์
อานิสงส์ต้อนรับปฏิสันถาร
บุคคลผู้เคารพในพระบรมศาสดา เคารพในพระธรรม มีความเคารพอย่างแรงกล้าในพระสงฆ์ เคารพในความไม่ประมาท เคารพในปฏิสันถาร ย่อมเป็นผู้ไม่ควรเพื่อความเสื่อม ย่อมเป็นผู้อยู่ใกล้นิพพาน